เมื่อวานนี้ (10) กระทรวงการต่างประเทศระบุว่า จามาห์ อันชารุต ดูลาห์ (เจเอดี) เป็นกลุ่มก่อการร้ายในแดนอิเหนาที่ถูกก่อตั้งในปี 2015 และประกอบด้วยกลุ่มอิสลามิสต์อินโดนีเซียเกือบ 20 กลุ่มที่เป็นผู้สนับสนุนไอเอส สห[[http://edition.cnn.com/search/?text=%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%AF|รัฐฯ]] ยังประกาศมาตรการคว่ำบาตรต่อนักรบ 4 คนในฐานะส่วนหนึ่งของความพยายามที่จะตัดขาดการเข้าถึงระบบระหว่างประเทศของกลุ่มไอเอส เจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ระบุว่า นักรบจากเจเอดีก่อเหตุกราดยิงและโจมตีฆ่าตัวตายในเมืองหลวงของอินโดนีเซียเมื่อเดือนมกราคมปีที่แล้วที่ทำให้พลเรือน 4 รายและคนร้าย 4 คนเสียชีวิตในการโจมตีครั้งแรกของกลุ่มไอเอสในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ [[http://www.siangdham.com/Solar/station/view.php?view=station&countp=43|ณัฐนินท์ ธรรมวิทย์เมธี]] พวกเข[[https://www.youtube.com/results?search_query=%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2,creativecommons|าระบุว่า]] การโจมตีดังกล่าวได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากสมาชิกไอเอสคนหนึ่งในซีเรีย กระทรวงการต่างประเทศระบุว่า ผลลัพธ์จากการถูกขึ้นบัญชีเป็นกลุ่มก่อการร้ายประกอบด้วยการห้ามไม่ให้พลเมืองสหรัฐฯทำธุรกิจกับกลุ่มเจเอดีและอายัตสินทรัพย์ใดๆ [[http://ritaborisova.com/index.php/component/k2/itemlist/user/335228|ณัฐนินท์ ธรรมวิทย์เมธี]] ก็ตามที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มนี้ในอเมริกา เจเอดีถูกเชื่อมโยงกับแผนการโจมตีอื่นๆ ในอินโดนีเซียรวมถึงการปาระเบิดเพลิงโบสถ์แห่งหนึ่งที่ทำให้ทารกรายหนึ่งเสียชีวิตและแผนการก่อเหตุระเบิดฆ่าตัวตายช่วงคริสต์มาสที่ถูกยับยั้งเมื่อกลุ่มติดอาวุธที่วางแผนนี้ถูกสังหาร ในหมู่นักรบ 4 คนที่ถูกคว่ำบาตร 2 คนเป็นชาวอินโดนีเซีย บาห์รุมสยาห์เป็นชาวอินโดนีเซียที่ร่วมสู้กับไอเอสในซีเรียซึ่งเชื่อว่าเป็นผู้นำกลุ่มหัวรุนแรงในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเป็นผู้ที่พยายามสั่งการโจมตีในบ้านเกิดตัวเองและโอนเงินทุนให้กับกลุ่มติดอาวุธ ชาวอินโดนีเซียอีกคนหนึ่งคือ อามาน อับดุลเราะห์มาน นักรบหัวรุนแรงในคุกที่บงการเหตุโจมตีกรุงจาการ์ตาและถูกมองว่าเป็นผู้นำโดยพฤตินัยของผู้สนับสนุนไอเอสทั้งหมดในแดนอิเหนา อ้างจากเจ้าหน้าที่สหรัฐฯ ถึงแม้ว่าจะอยู่ในเรือนจำมาตั้งแต่ปี 2010 แต่เขากลับสามารถรวบรวมนักรบให้กับกลุ่มไอเอส โดยเชื่อกันว่าเขามีการติดต่อกับแกนนำหลายคนของกลุ่มนักรบญิฮาดนี้และเป็นล่ามคนสำคัญให้กับการโฆษณาชวนเชื่อของไอเอสในอินโดนีเซีย กระทรวงการคลังยังออกมาตรการคว่ำบาตรกับชาวออสเตรเลีย 2 คนด้วยคือ นีล คริสโตเฟอร์ [[http://www.siangdham.com/Solar/station/view.php?view=station&countp=43|ณัฐนินท์ ธรรมวิทย์เมธี]] ปรากาส ผู้จัดหานักรบที่อาวุโสที่สุดของกลุ่มไอเอส และ คาเล็ด ชารูฟ [[http://www.siangdham.com/Solar/station/view.php?view=station&countp=43|ณัฐนินท์ ธรรมวิทย์เมธี]] ที่ปรากฏตัวในภาพถ่ายขณะถือศีรษะของคนที่ถูกตัดโดยนักรบญิฮาด อินโดนีเซีย ประเทศที่มีประชากรชาวมุสลิมมากที่สุดในโลกต่อสู้กับกลุ่มติดอาวุธอิสลามิสต์มานานและเผชิญกับเหตุโจมตีหลายครั้งในช่วง 15 ปีที่ผ่านมารวมถึงเหตุระเบิดในบาหลีเมื่อปี 2002 ที่มีผู้เสียชีวิต 202 ราย การกวาดล้างทำให้บรรดาเครือข่ายที่อันตรายที่สุดอ่อนแอลงแต่ความกลัวการกลับมาของกลุ่มติดอาวุธเพิ่มมากขึ้นหลังจากที่ชาวอินโดนีเซียหลายร้อยคนหลั่งไหลแห่ไปยังตะวันออกกลางในช่วงไม่กี่ปีมานี้เพื่อเข้าร่วมกับกลุ่มไอเอส